[x] ปิดหน้าต่างนี้
Powered by ATOMYMAXSITE 2.5
ยินดีต้อนรับคุณ บุคคลทั่วไป  
English Chinese (Simplified) Chinese (Traditional) French German Italian Japanese Korean Portuguese Russian Spanish Vietnamese Thai     
ค้นหา   
ยินดีต้อนรับเข้าสู่เว็ปไซต์โรงเรียนประชาบดีพิทยาคม สพม.หนองคาย โรงเรียนประชาบดีพิทยาคม
ทำเนียบบุคลากร






งานระบบ SGS


OIT โรงเรียนสุจริต 2566

O1โครงสร้างหน่วยงาน
O2ข้อมูลพื้นฐาน
O3อำนาจหน้าที่
O4แผนพัฒนาหน่วยงาน
O5ข้อมูลการติดต่อ
Oุ6กฎหมายที่เกี่ยวข้อง
Oึ7ข่าวประชาสัมพันธ์
Oึ8 Q&A
Oึ9 Social Network
O10คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล
Oึ11แผนดำเนินงานประจำปี
Oึ12รายงานดำเนินงานรอบ6เดือน
Oึ13รายงานดำเนินงาน2565
Oึ14คู่มือปฏิบัติงาน
Oึ15.1คู่มือกลุ่มบริหารงบประมาณ
Oึ15.2คู่มือกลุ่มบริหารงานวิชาการ
Oึ15.3คู่มือกลุ่มบริหารงานทั่วไป
Oึ15.4คู่มือกลุ่มบริหารงานบุคคล
Oึ16สถิติให้บริการ
Oึ17ความพึ่งพอใจให้บริการ
Oึ18 E-Service
Oึ19.1แผนจัดซื้อจัดจ้างพัสดุ
Oึ19.2แผนจัดซื้อจัดจ้างพัสดุ
Oึ20ประกาศจัดซื้อจัดจ้างพัสดุ
Oึ21.1สรุปจัดซื้อจัดจ้างพัสดุ
Oึ21.2สรุปจัดซื้อจัดจ้างพัสดุ
Oึ22รายงานจัดซื้อจัดจ้างพัสดุุ65
Oึ23นโยบายบริการบุคคล
Oึ24.1ดำเนินการแผนบริหารบุคคล
Oึ24.2ดำเนินการแผนบริหารบุคคล
Oึ24.3ดำเนินการแผนบริหารบุคคล
Oึ24.4ดำเนินการแผนบริหารบุคคล
Oึ24.5ดำเนินการแผนบริหารบุคคล
Oึ24.6ดำเนินการแผนบริหารบุคคล
Oึ25.1สำรวจวิชาเอก
Oึ25.2เกณฑ์การย้าย
Oึ25.3แนวปฏิบัติเลื่อนเงินเดือน
Oึ25.4แบบประเมินครูผู้ช่วย
Oึ25.5ปฏิทินย้าย
Oึ25.6ประกาศ ก.ค.ศ.
Oึ26รายงานพัฒนาบุคคลประจำปี
Oึ27แนวปฏิบัติเรื่องร้องเรียน
Oึ28ช่องทางแจ้งร้องเรียน
Oึ29สถิติเรื่องร้องเรียน
Oึ30เปิดโอกาสมีส่วนร่วม
Oึ31เจตนารมณ์ นโยบาย
Oึ32การสร้างวัฒนธรรม
Oึ33รายงานผล No Gift policy
Oึ34ประเมินความเสี่ยงทุจริต2566
Oึ35ดำเนินจัดการความเสี่ยง66
Oึ36แผนป้องกันทุจริต
O37รายงานดำเนินทุจริตรอบ6เดือน
Oึ38รายงานป้องกันทุจริต2565
Oึ39จริยธรรมเจ้าหน้าที่รัฐ
Oึ40.1ขับเคลื่อนจริยธรรม
Oึ40.2ขับเคลื่อนจริยธรรม
Oึ41ประเมินจริยธรรมเจ้าหน้าที่รัฐ
Oึ42ส่งเสริมคุณธรรมโปร่งใสหน่วยงาน
Oึ43ดำเนินส่งเสริมคุณธรรมโปร่งใสหน่วยงาน


  

  หมวดหมู่ : ภาษาไทย
เรื่อง : แผนการของ NASA ในการส่งดาวเทียมสังเกตการณ์ดวงอาทิตย์
blog name : admin
ระดับ : [ มือใหม่ ]
เข้าชม : 1000
พฤหัสบดี ที่ 13 เดือน พฤษภาคม พ.ศ.2553 ปักหมุดและแบ่งปัน
    

ดวงอาทิตย์ เป็นพลังผลักดันสำคัญเบื้องหลังสภาพภูมิอากาศของโลก แต่ความเปลี่ยนแปลงๆ ในดวงอาทิตย์มีผลกระทบมากเกินกว่าด้านสภาพอากาศบนโลกเรา

ผู้สื่อข่าว Voice of America, Suzanne Presto มีรายงานเกี่ยวกับแผนการของ NASA หรือองค์การอวกาศ สหรัฐฯ ในการส่งดาวเทียมสังเกตการณ์ดวงอาทิตย์เมื่อวันพฤหัสบดี ซึ่งคาดกันว่า ดาวเทียมสังเกตการณ์ดังกล่าวจะส่งภาพของดวงอาทิตย์อย่างหาที่เปรียบไม่ได้กลับมาให้นักวิทยาศาสตร์ได้ศึกษา "สภาพอวกาศ" ที่อาจมีผลกระทบต่อการสื่อสารทางดาวเทียม ระบบการนำร่อง และแม้กระทั่งสายไฟฟ้าบนโลก

ปรากฏการณ์ต่างๆ บนดวงอาทิตย์ ความเปลี่ยนแปลงในสนามแม่เหล็กของดวงอาทิตย์นั้น เป็นสาเหตุของสิ่งที่นักวิทยาศาสตร์เรียกว่า "large particle events" หรือ "ปรากฏการณ์อนุภาคขนาดใหญ่" ปรากฏการณ์ดังกล่าวมีผลกระทบต่อโลกได้ อย่างเมื่อครั้งที่เกิดไฟฟ้าดับในภาคใต้ของสวีเดนเมื่อ 7 ปีมาแล้ว

Dean Pesnell นักวิทยาศาสตร์ประจำโครงการดาวเทียมสังเกตการณ์ดวงอาทิตย์ขององค์การอวกาศ สหรัฐฯ หรือ NASA อธิบายว่า เมื่อเกิด "ปรากฏการณ์อนุภาคขนาดใหญ่" บนดวงอาทิตย์ อนุภาคเหล่านั้นจะแผ่กระจายออกไปในห้วงอวกาศในระบบสุริยะ และผ่านเข้ามาทำปฏิกริยากับสนามแม่เหล็กของโลกเรา และอาจก่อกวนหรือยังความเสียหายแก่ระบบกระแสไฟฟ้าบนโลกได้

Dean Pesnell ซึ่งทำงานอยู่ที่ศูนย์ควบคุมการบินอวกาศ Goddard ชานกรุงวอชิงตัน อธิบายว่า ดวงอาทิตย์มีปฏิกริยา และมีความเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา และสนามแม่เหล็กที่มีความเปลี่ยนแปลงจะส่งอนุภาคประจุไฟฟ้าออกสู่ระบบสุริยะ หรือเปลี่ยนเป็นการปะทุระเบิด ส่งก๊าซพวยพุ่งออกสู่ชั้นบรรยากาศของดวงอาทิตย์เอง หรือเกิดการปะทุระเบิดที่ปล่อยสารวัตถุดวงอาทิตย์ออกสู่ห้วงอวกาศ เป็นปริมาณหลายพันล้านตัน

ปรากฏการณ์ต่างๆ ดังกล่าวของดวงอาทิตย์จะเปลี่ยนแปรระดับพลังงาน และการแผ่รังสีในระบบสุริยะของเรา และอาจมีผลกระทบต่อเทคโนโลยี อย่างการสื่อสารโทรคมนาคม และระบบนำร่องต่างๆ บนโลกเราได้

ดาวเทียมสังเกตการณ์ดวงอาทิตย์ใหม่นี้จะส่งภาพถ่ายคุณภาพสูง คมชัดลึกกว่าภาพโทรทัศน์ HDTV 10 เท่า และรวบรวมข้อมูลต่างๆ เกี่ยวกับปรากฏการณ์ของดวงอาทิตย์ และในสนามแม่เหล็กของดวงอาทิตย์กลับมายังโลก คาดว่าข้อมูลและภาพถ่ายเหล่านี้จะช่วยให้นักวิทยาศาสตร์มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับดวงอาทิตย์มากขึ้น และสามารถคาดทำนายพายุสุริยะและปรากฏการณ์อื่นๆ ของดวงอาทิตย์ ที่อาจมีผลกระทบถึงการทำงานของยานอวกาศในวงโคจรรอบโลก ตลอดจนระบบไฟฟ้า ระบบการสื่อสารโทรคมนาคม และระบบนำร่องทั้งหลายบนโลกได้

ดาวเทียมสังเกตการณ์ดวงอาทิตย์ใหม่นี้จะทำงานเป็นเวลาราว 5 ปี.



Not Rated stars เฉลี่ย : Not Rated จาก 0 ครั้ง.
รายละเอียดผู้เขียนบทความ blog
blog name :
เจ้าของ blog :
อาชีพ :
สถานที่ทำงาน :
จำนวนบทความใน blog :
ระดับของ blog :
admin
นายสุภกริษฐ์ แก้วรอด
9/9/2514
โรงเรียนประชาบดีพิทยาคม
2 เรื่อง
[ มือใหม่ ]

ภาษาไทย 5 อันดับล่าสุด

      แผนการของ NASA ในการส่งดาวเทียมสังเกตการณ์ดวงอาทิตย์ 13/พ.ค./2553
      ผงชูรส ที่มา-วัตถุดิบ-ประโยชน์และโทษ 24/เม.ย./2553


กำลังแสดงหน้าที่ 1/0 ->
<< 1 >>



ชื่อ/Email :
ใส่รหัสที่ท่านเห็นลงในช่องนี้
ความคิดเห็น


กรุณาใช้คำพูดที่สุภาพ และอย่าใช้คำพูดที่พาดพิงถึงบุคคลอื่นให้เสียหาย ขอขอบคุณที่ให้ความร่วมมือ


ข้อความที่ท่านได้อ่าน เกิดจากการเขียนโดยสาธารณชน และส่งขึ้นมาแบบอัตโนมัติ เจ้าของระบบไม่รับผิดชอบต่อข้อความใดๆทั้งสิ้น เพราะไม่สามารถระบุได้ว่าเป็นความจริงหรือ ชื่อผู้เขียนที่ได้เห็นคือชื่อจริง ผู้อ่านจึงควรใช้วิจารณญาณในการกลั่นกรอง และถ้าท่านพบเห็นข้อความใดที่ขัดต่อกฎหมายและศีลธรรม กรุณาแจ้งที่ pcppit@pcp.ac.th เพื่อให้ผู้ควบคุมระบบทราบและทำการลบข้อความนั้น ออกจากระบบต่อไป

ขอเครดิตฟรีหน่อยครับสมัครปุ๊บรับปั๊บไม่ต้องฝาก สล็อตออนไลน์ เครดิตโบนัสได้เงินจริง slot938 สล็อต สล็อตออนไลน์ thaicasinobin แจกเครดิตฟรี สล็อต บาคาร่า คาสิโนออนไลน์ JQK41 สล็อต เครดิตฟรี ไทยคาสิโนออนไลน์ thaibet55 kubet ไทยคาสิโนออนไลน์ แทงบอล ซอคเกอร์ลีก คะแนนฟุตบอล เว็บพนันอันดับ1 HUC99 เว็บตรง ไม่ผ่านเอเย่นต์